Skip to main content
มุมวิชาการ
สื่อเลือกทำหน้าที่ “คนกลาง” กรณีเลือกตั้งประธานาธิบดีอินโดนีเซีย 2014: สื่อออนไลน์ สื่อออนไลน์เป็นสื่อที่เกิดหลังสิ่งพิมพ์และโทรทัศน์ในวงการอุตสาหกรรมสื่อของอินโดนีเซีย แต่ก็ได้รับความนิยมและมีบทบาทมากขึ้นอย่างรวดเร็ว ในระหว่างการหาเสียงเลือกตั้งประธานาธิบดี ปี 2014 สื่อออนไลน์วางตัวแตกต่างจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อโทรทัศน์อย่างชัดเจน สื่อออนไลน์เลือกที่จะทำหน้าที่เป็นคนกลางระหว่างผู้สมัครสองฝ่าย (Gurevitch and Blumler 1977) เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือในฐานะสื่อใหม่ ตัวอย่างสื่อออนไลน์ที่เลือกมาศึกษาในงานวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ Detik.com และ Suara.com ทั้งสองมีสำนักงานในกรุงจาการ์ต้า
2021-01-17
มุมวิชาการ
สื่อเลือกข้างกรณีเลือกตั้งประธานาธิบดี 2014: สื่อโทรทัศน์ การศึกษาบทบาททางการเมืองของสื่อกระแสหลักของอินโดนีเซียช่วงการเลือกตั้งประธานาธิบดี ปี 2014 นั้น งานวิจัยได้เลือกสถานีโทรทัศน์ในเครือ Bakrie & Brothers เป็นตัวอย่างในการศึกษา ได้แก่สถานี TVOne และ antv โทรทัศน์ในเครือนี้มี อะบูริซาล บาครี เป็นเจ้าของและผู้บริหาร เขาเป็นประธานพรรคกอลคาร์ระหว่างปี 2009 – 2014 และได้รับเลือกให้ดำรงตำแหน่งประธานพรรคอีกครั้งในปี 2015 [1] สถานีโทรทัศน์ทั้งสองแห่งให้การสนับสนุนแก่ปราโบโว สุเบียนโต ผู้สมัครจากพรรค Gerindra Party (เขาเป็
2020-12-21
มุมวิชาการ
หลังยุคซูฮาร์โตที่ครองอำนาจยาวนาน 32 ปี (1967-1998)  ประเทศอินโดนีเซียเริ่มกระบวนการปฏิรูปการเมืองอย่างจริงจังระหว่างปี 1999-2002 มีการยกเลิกกฎหมายหนังสือพิมพ์ เปิดให้สื่อมวลชนมีเสรีภาพ ในระยะเปลี่ยนผ่านทางการเมืองสภาเป็นผู้เลือกตั้งประธานาธิบดีระหว่างปี 1999-2004 (วาระ 5 ปี) ต่อมา และตั้งแต่ปี 2004 เป็นต้นมาอินโดนีเซียมีการเลือกตั้งประธานาธิบดีโดยตรง ประธานาธิบดีสุซิโล บัมบัง ยุทโธโยโน ได้รับเลือกตั้งจากประชาชน ดำรงตำแหน่ง 2 สมัย ระหว่างปี 2004-2009 และ 2009-2014 การเลือกตั้งประธานาธิบดีในปี 2014 เป็นการเลือกตั้งโดยตรงครั้งที่ 3 มีผู้สมัครรับเลือกตั้ง 2 ฝ่ายต่อสู้แข่งขันกัน ฝ่ายหนึ่งเป็นตั
2020-11-25
ส่องสื่อโลก
รัตนา ซารุมปาเอ็ต อดีตนักศึกษาสถาปัตย์ ผู้ผันตัวสู่ละครเวทีเพื่อส่งเสียงท้าทายเผด็จการและบอกเล่าความทุกข์ยากของประชาชน
2015-09-04
ส่องสื่อโลก
พิมพ์สิริ เพชรน้ำรอบ ชวนผู้อ่านร่วมส่องเสรีภาพสื่อและเสรีภาพในการแสดงออกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และตั้งประเด็นชวนคิด “เป็นไปไม่ได้ที่สื่อมวลชนจะทำหน้าที่ของตัวเองในสังคมที่รัฐบาลหรือผู้มีอำนาจไม่อยากได้ยินเสียงที่แท้จริงของประชาชน”
2012-10-26
มุมวิชาการ
เสรีภาพสื่อที่ควรจะได้รับการยอมรับและการปกป้องในฐานะที่เป็นสิทธิมนุษยชนได้ถูกนำไปใช้สร้างโอกาสทางธุรกิจอย่างไร้ความรับผิดชอบ วิษณุ ตรี ฮังโกโร ผู้เชี่ยวชาญการเฝ้าระวังสื่อ แห่ง Institute of the Studies on Press Information, ประเทศอินโดนีเซีย เล่าประสบการณ์ของขบวนการเฝ้าระวังสื่อยุคหลังซูฮาร์โต ที่ได้รับแรงผลักดันจากการใช้เสรีภาพสื่ออย่างไม่มีขอบเขต
2012-10-17
มุมวิชาการ
The Importance of Media Monitoring: Indonesian Experince   By Wisnu T Hanggoro* Presented at the launch of MEDIA INSIDE OUT Group On Saturday 14 July, 2012 in Bangkok  
2012-08-19
Subscribe to อินโดนีเซีย