ส่องสื่อโลก
เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2020 หนังสือพิมพ์เดอะแคนซัสซิตี้สตาร์ (The Kansas City Star) ได้แถลงขอโทษต่อประชาชนชาวเมืองแคนซัส โดยเฉพาะต่อคนผิวดำ ที่ได้สร้างประวัติศาสตร์การเหยียดผิวในรายงานข่าวของเดอะแคนซัสซิตี้สตาร์มาอย่างยาวนาน คำขอโทษระบุถึงการที่เดอะแคนซัสซิตี้สตาร์ได้รายงานข่าวที่เป็นการกระทำซึ่งละเลยและจงใจทำร้ายชาวแอฟริกันอเมริกัน บทบรรณาธิการชิ้นนี้ได้กล่าวขอโทษถึงการสืบทอดการแบ่งแยกสีผิวโดยอ้างกฎหมายจิม โครว์ [i] รวมทั้งการกระทำอื่นๆ ที่ส่งผลต่อการสร้างอคติต่อชาวแอฟริกันอเมริกัน
2021-03-18
มุมวิชาการ
หลังยุคซูฮาร์โตที่ครองอำนาจยาวนาน 32 ปี (1967-1998) ประเทศอินโดนีเซียเริ่มกระบวนการปฏิรูปการเมืองอย่างจริงจังระหว่างปี 1999-2002 มีการยกเลิกกฎหมายหนังสือพิมพ์ เปิดให้สื่อมวลชนมีเสรีภาพ ในระยะเปลี่ยนผ่านทางการเมืองสภาเป็นผู้เลือกตั้งประธานาธิบดีระหว่างปี 1999-2004 (วาระ 5 ปี) ต่อมา และตั้งแต่ปี 2004 เป็นต้นมาอินโดนีเซียมีการเลือกตั้งประธานาธิบดีโดยตรง ประธานาธิบดีสุซิโล บัมบัง ยุทโธโยโน ได้รับเลือกตั้งจากประชาชน ดำรงตำแหน่ง 2 สมัย ระหว่างปี 2004-2009 และ 2009-2014 การเลือกตั้งประธานาธิบดีในปี 2014 เป็นการเลือกตั้งโดยตรงครั้งที่ 3 มีผู้สมัครรับเลือกตั้ง 2 ฝ่ายต่อสู้แข่งขันกัน ฝ่ายหนึ่งเป็นตั
2020-11-25
จากในสู่นอก
ผมไม่ได้เป็นสื่อจากคนจบสื่อสารมวลชน แต่เรียนรัฐศาสตร์ และเป็นนักเคลื่อนไหวพร้อมกับทำงานประจำ ผมเห็นการแบ่งของสื่อตั้งแต่การเมืองไทยปี 2548 และเริ่มต้นวิกฤตการเมืองไทยหลังการรัฐประหารปี 2549 เห็นการแบ่งข้างผ่านสื่อที่เสพอย่างสื่อสิ่งพิมพ์ ที่ผมอ่านตอนนั้นคือ เนชั่น และ มติชน
2020-08-16
นักเรียนสื่อ
10 ปี เหตุการณ์ ‘เมษายน-พฤษภาคม 2553’ ปีนี้ เป็นปีที่ฉันกำลังเข้าสู่วัยทำงานออกไปเป็น Journalist
ถ้าจะย้อนกลับไปในเหตุการณ์ ‘สลายการชุมนุมของกลุ่มคนเสื้อแดง’ วันนั้นฉันยังเป็นเด็ก 12 ขวบ เรื่องนี้แทบจะเป็นความทรงจำสีจางๆ ในวัยเด็ก
ขณะนั้น ฉันน่าจะกำลังเรียนมัธยมต้น ใช้ชีวิตเหมือนเด็กชนชั้นกลางทั่วไป วันๆ ก็เอาแต่เรียนตามหนังสือและทำกิจกรรมต่างๆ ที่กระทรวงศึกษาธิการ และโรงเรียนกำหนดไว้ให้
วิถีอื่นนอกเหนือจากวันธรรมดาๆ แบบนั้นก็หมดไปกับการนั่งทำการบ้าน เหลือเวลาเล็กๆ น้อยๆ ก็ใช้ไปกับการเที่ยวเล่น
2020-07-14
จากในสู่นอก
ข่าวการปิดหนังสือพิมพ์คมชัดลึกอายุ 19 ปี เมื่อเดือนเมษายน และบิสซิเนส ทูเดย์ อายุ 6 เดือน เมื่อเดือนมีนาคม ไม่ได้ทำให้ใครในประเทศไทยตื่นเต้นมากไปกว่านักข่าวจำนวนหนึ่งที่จะต้องตกงาน แต่เมื่อเปรียบเทียบแฮซแท็กของประเด็นสำคัญที่หาดูไม่ได้ในสื่อหลัก 1.2 ล้านครั้งในทวิตเตอร์ภายใน 24 ชั่วโมงเมื่อเดือนมีนาคมหรือปฏิกิริยาของผู้ใช้เมื่อรู้ว่า ทวิตเตอร์เปิดบัญชีอย่างเป็นทางการในประเทศไทย (TwitterThailand) เมื่อเดือนพฤษภาคม นั่นก็คงเป็นแถลงการณ์ที่ชัดเจนว่า สื่อกระแสหลักของไทยได้หมดความสำคัญไปแล้ว ในขณะที่ผู้ประกอบการสื่อสารมวลชนและผู้สื่อข่าวทั้งหลายยังคงจะต้องต่อสู้ดิ้นรนอย่างหนักเพื่อความอยู่รอด แล
2020-07-14
ส่องสื่อไทย
ในวิกฤตการเมืองของประเทศ สื่อไทยทำงานกันอย่างไร มีเดีย อินไซด์ เอ้าท์ ชวนอ่านบทบันทึกหลังการเสวนาของคนทำงานสื่อในช่วงที่ประเทศเต็มไปด้วยฝักและฝ่ายทางการเมือง
2013-12-27
ส่องสื่อโลก
เพ็ญนภา หงษ์ทอง นำเสนอความผิด พลาด คลาด เคลื่อน ของการทำงานของสื่อมวลชน ในพื้นที่ต่างมุมโลก
2013-07-28
สีสันสื่อ
อัจฉรา อัชฌายกชาติ นักข่าวอาวุโสชวนอ่านหนังสือพิมพ์ “ลูกศิลป์” ของนักศึกษาคณะเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร พร้อมฝากความหวังต่อคนทำสื่อในอนาคต “หวังว่าความสนใจและความละเอียดลออในการเรียบเรียงของคนรุ่นใหม่ๆจะมีสืบเนื่องเมื่อเดินไปสู่ถนนสายอาชีพของตน”
2012-11-01