จากในสู่นอก
การวิจารณ์ (criticism) เป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่เราใช้เพื่อแสดงความเห็นของเราต่อบุคคลหรือเรื่องต่าง ๆ และแม้การวิจารณ์จะมีหลายประเภท คนส่วนใหญ่ก็มักแบ่งกว้าง ๆ เป็นการวิจารณ์เชิงสร้างสรรค์ซึ่งให้ข้อเสนอแนะที่มีประโยชน์ต่อผู้ถูกวิจารณ์ (constructive criticism) กับการวิจารณ์เชิงทำลาย (destructive criticism) ซึ่งมุ่งทำลาย “เป้าหมาย” ของการวิจารณ์
2021-07-09
มุมวิชาการ
สื่อเลือกทำหน้าที่ “คนกลาง” กรณีเลือกตั้งประธานาธิบดีอินโดนีเซีย 2014: สื่อออนไลน์
สื่อออนไลน์เป็นสื่อที่เกิดหลังสิ่งพิมพ์และโทรทัศน์ในวงการอุตสาหกรรมสื่อของอินโดนีเซีย แต่ก็ได้รับความนิยมและมีบทบาทมากขึ้นอย่างรวดเร็ว ในระหว่างการหาเสียงเลือกตั้งประธานาธิบดี ปี 2014 สื่อออนไลน์วางตัวแตกต่างจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อโทรทัศน์อย่างชัดเจน สื่อออนไลน์เลือกที่จะทำหน้าที่เป็นคนกลางระหว่างผู้สมัครสองฝ่าย (Gurevitch and Blumler 1977) เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือในฐานะสื่อใหม่ ตัวอย่างสื่อออนไลน์ที่เลือกมาศึกษาในงานวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ Detik.com และ Suara.com ทั้งสองมีสำนักงานในกรุงจาการ์ต้า
2021-01-17
ส่องสื่อโลก
มีคำน่าสนใจเกี่ยวกับการทำงานของ “สื่อสารมวลชน” ในแวดวงสื่อตะวันตก และยิ่งน่าสนใจเมื่อนำมาเทียบเคียงกับเรื่องราวที่กำลังเกิดขึ้นกับวงการสื่อบ้านเราขณะนี้ นั่นคือคำว่า advocacy journalism
อันที่จริงคำว่า แอดเวอะคะซี (advocacy) ซึ่งเป็นคำนามในภาษาอังกฤษไม่ได้แปลตรงตัวว่า “เลือกข้าง” แต่แปลว่าการสนับสนุนหรือแก้ต่าง หากเมื่อใช้ประกอบกับคำว่า journalism ที่แปลว่า วารสารศาสตร์ หรือ การสื่อสารมวลชน เป็นคำว่า advocacy journalism ก็อาจเรียกเป็นไทยๆ ได้ว่า “สื่อเลือกข้าง” หรือ “เลือกข้างความเชื่อ” ซึ่งบางครั้งอาจเรียกอีกอย่างว่า สื่อทางเลือก (alternative journalist)
2020-11-19
MIO คาเฟ่
มีเดีย อินไซด์ เอ้าท์ เปิดวงสนทนากับสามผู้เกาะติดเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐ ชวนพิเคราะห์บทบาทสื่ออเมริกัน..เลือกข้างแล้วละเมิดจรรยาบรรณหรือไม่ อย่างไร
2016-12-02
ส่องสื่อไทย
มีเดีย อินไซด์ เอ้าท์ ร่วมรำลึก 39 ปีเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ชวนย้อนมองบทบาทสื่อในโศกนาฏกรรมการเมืองไทย จากวันนั้นถึงวันนี้
2015-10-29
มุมวิชาการ
ในยุคที่..สื่อเลือกข้าง ผู้บริโภคเสพติด “สื่อการเมือง” ผู้ประกอบการสื่อการเมืองแสวงหาเสียงสนับสนุนทางการเมือง คนทำสื่อที่ยึดความเป็นวิชาชีพตกกระป๋อง เช่นทุกวันนี้..การถ่วงดุลระหว่างผู้ประกอบการและนักวิชาชีพสื่อ กติกา จรรยาบรรณสื่อที่จะสามารถช่วยพัฒนาการเมืองไทยควรเป็นอย่างไร อุบลรัตน์ ศิริยุวศักดิ์ เปิดประเด็น
2012-10-06