Skip to main content
มุมวิชาการ
หลังยุคซูฮาร์โตที่ครองอำนาจยาวนาน 32 ปี (1967-1998)  ประเทศอินโดนีเซียเริ่มกระบวนการปฏิรูปการเมืองอย่างจริงจังระหว่างปี 1999-2002 มีการยกเลิกกฎหมายหนังสือพิมพ์ เปิดให้สื่อมวลชนมีเสรีภาพ ในระยะเปลี่ยนผ่านทางการเมืองสภาเป็นผู้เลือกตั้งประธานาธิบดีระหว่างปี 1999-2004 (วาระ 5 ปี) ต่อมา และตั้งแต่ปี 2004 เป็นต้นมาอินโดนีเซียมีการเลือกตั้งประธานาธิบดีโดยตรง ประธานาธิบดีสุซิโล บัมบัง ยุทโธโยโน ได้รับเลือกตั้งจากประชาชน ดำรงตำแหน่ง 2 สมัย ระหว่างปี 2004-2009 และ 2009-2014 การเลือกตั้งประธานาธิบดีในปี 2014 เป็นการเลือกตั้งโดยตรงครั้งที่ 3 มีผู้สมัครรับเลือกตั้ง 2 ฝ่ายต่อสู้แข่งขันกัน ฝ่ายหนึ่งเป็นตั
2020-11-25
ส่องสื่อไทย
มีเดีย อินไซด์ เอ้าท์ ชวนตั้งคำถาม หาคำตอบกับร่าง พ.ร.บ.สื่อ 4 ฉบับ เพื่อคุ้มครอง หรือควบคุมใคร?
2017-03-17
คอลัมน์
“เมื่อพวกเขาไม่ได้เป็นกระบอกเสียงให้คนทุกกลุ่มอย่างถ้วนทั่ว ความเดือดร้อนของ "สื่อ" ก็ไม่เป็นความเดือดร้อนร่วม” 
2017-02-16
มุมวิชาการ
เปิดงานวิชาการศึกษาบทบาทของวารสารสาละวินโพสต์ และเวบไซต์สาละวินนิวส์ออนไลน์ ฐานะสื่อทางเลือกข้ามพรมแดนในประเทศไทย ที่มีต่อกระบวนการเปลี่ยนผ่านประชาธิปไตยในพม่า
2013-10-30
ส่องสื่อโลก
นวลน้อย ธรรมเสถียร เล่าเรื่องนักข่าวพลเมืองของประเทศเพื่อนบ้าน การเติบใหญ่จากงานอาสามัครสู่การสร้าง “ความน่าเชื่อถือ” ในสมรภูมิข่าว และสิ่งที่นักข่าวไม่ควรทำ
2013-06-24
ส่องสื่อไทย
มีเดีย อินไซด์ เอ้าท์ ชวนสื่ออาวุโสต่างสำนักร่วมถกประเด็นความเป็น “มืออาชีพ” และ “จรรยาบรรณ”ของสื่อหลักปัจจุบัน ที่ถูกท้าทายโดยทุน อุตสาหกรรมสื่อ ผู้บริโภคในโลกสื่อใหม่ และอุดมการณ์ทางการเมือง
2013-04-21
คอลัมน์
สุชาดา จักรพิสุทธิ์  ส่อง“มายาคติของสื่อทางเลือก” บนเส้นทางกว่าทศวรรษนับจากก่อตั้งสำนักข่าวประชาธรรม จนถึงปัจจุบันในฐานะของบรรณาธิการบริหารศูนย์ข้อมูล&ข่าวสืบสวนเพื่อสิทธิพลเมือง (TCIJ)
2013-02-13
ส่องสื่อไทย
สุชาดา จักรพิสุทธิ์ ส่องความพยายามนำแนวคิด Media Convergence มาปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงใหญ่ "การเข้ามาของสื่อใหม่" ของสื่อไทยทั้งสื่อกระแสหลักและสื่อทางเลือก เพื่อลองหาคำตอบว่าความพยายามเหล่านั้นจะนำไปสู่ คุณภาพข่าว วงการสื่อและคนข่าวแบบใดนับจากนี้
2012-07-24
Subscribe to สื่อทางเลือก