มุมวิชาการ
หลังยุคซูฮาร์โตที่ครองอำนาจยาวนาน 32 ปี (1967-1998) ประเทศอินโดนีเซียเริ่มกระบวนการปฏิรูปการเมืองอย่างจริงจังระหว่างปี 1999-2002 มีการยกเลิกกฎหมายหนังสือพิมพ์ เปิดให้สื่อมวลชนมีเสรีภาพ ในระยะเปลี่ยนผ่านทางการเมืองสภาเป็นผู้เลือกตั้งประธานาธิบดีระหว่างปี 1999-2004 (วาระ 5 ปี) ต่อมา และตั้งแต่ปี 2004 เป็นต้นมาอินโดนีเซียมีการเลือกตั้งประธานาธิบดีโดยตรง ประธานาธิบดีสุซิโล บัมบัง ยุทโธโยโน ได้รับเลือกตั้งจากประชาชน ดำรงตำแหน่ง 2 สมัย ระหว่างปี 2004-2009 และ 2009-2014 การเลือกตั้งประธานาธิบดีในปี 2014 เป็นการเลือกตั้งโดยตรงครั้งที่ 3 มีผู้สมัครรับเลือกตั้ง 2 ฝ่ายต่อสู้แข่งขันกัน ฝ่ายหนึ่งเป็นตั
2020-11-25
มุมวิชาการ
ทุกวันนี้ Interpretive journalism หรือวารสารศาสตร์แบบตีความได้รับความนิยมมากจนเป็นแนวโน้มหลักของวารสารศาสตร์ ในงานข่าวปัจจุบัน “ข้อเท็จจริงและการตีความถูกนำมาผสมเข้าด้วยกันอย่างเสรี” (Patterson 1993) นักวารสารศาสตร์กำลังเปลี่ยนสถานะของตนเอง จากผู้ทำหน้าที่ถ่ายทอดเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเป็น “ผู้สร้างความหมาย” (makers of meanings) (Barnhurst 2003) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านวารสารศาสตร์การเมือง
2020-08-12
มุมวิชาการ
บทความนี้ต้องการชี้ให้เห็นบทบาทของสื่อมวลชนที่แบ่งเป็น 2 ขั้วคู่ขนานไปกับการเมือง 2 ฝ่ายตลอดประวัติศาสตร์การเมืองไทยสมัยใหม่ ขั้วหนึ่งยึดถืออุดมการณ์รอยัลลิสต์ทำหน้าที่ส่งเสริมการเมืองของฝ่ายกษัตริย์นิยม อีกขั้วยึดถืออุดมการณ์รัฐธรรมนูญนิยม ฝ่ายแรกต้องการธำรงสังคมการเมืองแบบเก่าไว้ ในขณะที่ฝ่ายหลังต้องการสังคมรูปแบบใหม่ที่พลเมืองมีความเท่าเทียม มีสิทธิเสรีภาพทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม สองกลุ่มนี้ต่อสู้กันด้วยวิธีการต่างๆ และผ่านสื่อเพื่อสร้างความชอบธรรมให้กับแนวทางการเมืองของกลุ่มตน
2020-07-14