จากในสู่นอก
การวิจารณ์ (criticism) เป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่เราใช้เพื่อแสดงความเห็นของเราต่อบุคคลหรือเรื่องต่าง ๆ และแม้การวิจารณ์จะมีหลายประเภท คนส่วนใหญ่ก็มักแบ่งกว้าง ๆ เป็นการวิจารณ์เชิงสร้างสรรค์ซึ่งให้ข้อเสนอแนะที่มีประโยชน์ต่อผู้ถูกวิจารณ์ (constructive criticism) กับการวิจารณ์เชิงทำลาย (destructive criticism) ซึ่งมุ่งทำลาย “เป้าหมาย” ของการวิจารณ์
2021-07-09
คอลัมน์
เพ็ญนภา หงษ์ทอง สำรวจข่าวร้อนวงการสงฆ์ แล้วตั้งคำถามกับบทบาทสื่อในการค้นหาข้อเท็จจริงตามกรอบจรรยาบรรณ
2018-06-11
คอลัมน์
บรรณาธิการข่าวตอบคำถามเรื่องจรรยาบรรณสื่อ กรณีบีบีซีไทย “เพื่อเห็นแก่ประโยชน์สาธารณะ การปกปิดเอาไว้ต่อไปต่างหากที่จะเป็นการละเมิดจริยธรรม”
2018-02-15
คอลัมน์
“เมื่อพวกเขาไม่ได้เป็นกระบอกเสียงให้คนทุกกลุ่มอย่างถ้วนทั่ว ความเดือดร้อนของ "สื่อ" ก็ไม่เป็นความเดือดร้อนร่วม”
2017-02-16
คอลัมน์
พิณผกา งามสม ร่วมถกถึงความเป็นกลาง ความเป็นธรรม และ ความเป็นอิสระของสื่อ จากกรณี “เถียงให้รู้เรื่อง” กลายมาเป็น “เถียงไม่รู้เรื่อง”
2016-06-09
คอลัมน์
สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี เล่าเรียงเขียนถึงการจัดระเบียบสื่อต่างประเทศของรัฐในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้... ความต้องการของรัฐแต่ไม่ใช่งานของสื่อ
2016-02-29
คอลัมน์
บก. ข่าวต่างประเทศชวนส่องผู้นำกลุ่มอาเซียน ใครรุ่ง-ใครร่วง ในการรับมือกับสื่อยุคโซเชียลมีเดีย
2016-02-22
คอลัมน์
นิธินันท์ ยอแสงรัตน์ ตอบคำถามเรื่องก็อปสเตตัสคนดังมาเป็น “ข่าว” ได้หรือไม่? แค่ไหน? อย่างไร?
2015-05-06
คอลัมน์
สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี ชวนพิจารณาท่าทีสื่อมวลชนไทยต่อปัญหาความสัมพันธ์ไทย-สหรัฐ
2015-02-02
คอลัมน์
สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี กระตุกต่อมคิดวงการสื่อ วิพากษ์ความเห็นที่ไร้ความรู้ของคนทำข่าว จากกรณี UNHCR ถึงเรื่องอื่นๆ
2015-01-24