มีคำน่าสนใจเกี่ยวกับการทำงานของ “สื่อสารมวลชน” ในแวดวงสื่อตะวันตก และยิ่งน่าสนใจเมื่อนำมาเทียบเคียงกับเรื่องราวที่กำลังเกิดขึ้นกับวงการสื่อบ้านเราขณะนี้ นั่นคือคำว่า advocacy journalism
อันที่จริงคำว่า แอดเวอะคะซี (advocacy) ซึ่งเป็นคำนามในภาษาอังกฤษไม่ได้แปลตรงตัวว่า “เลือกข้าง” แต่แปลว่าการสนับสนุนหรือแก้ต่าง หากเมื่อใช้ประกอบกับคำว่า journalism ที่แปลว่า วารสารศาสตร์ หรือ การสื่อสารมวลชน เป็นคำว่า advocacy journalism ก็อาจเรียกเป็นไทยๆ ได้ว่า “สื่อเลือกข้าง” หรือ “เลือกข้างความเชื่อ” ซึ่งบางครั้งอาจเรียกอีกอย่างว่า สื่อทางเลือก (alternative journalist)
จริยธรรมสื่อ
ส่องสื่อไทย
มีเดีย อินไซด์ เอ้าท์ ชวนตั้งคำถาม หาคำตอบกับร่าง พ.ร.บ.สื่อ 4 ฉบับ เพื่อคุ้มครอง หรือควบคุมใคร?
2017-03-17
คอลัมน์
“เมื่อพวกเขาไม่ได้เป็นกระบอกเสียงให้คนทุกกลุ่มอย่างถ้วนทั่ว ความเดือดร้อนของ "สื่อ" ก็ไม่เป็นความเดือดร้อนร่วม”
2017-02-16
ส่องสื่อไทย
มีเดีย อินไซด์ เอ้าท์ ร่วมรำลึก 39 ปีเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ชวนย้อนมองบทบาทสื่อในโศกนาฏกรรมการเมืองไทย จากวันนั้นถึงวันนี้
2015-10-29
คอลัมน์
สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี ตั้งคำถามถึงองค์กรสื่อกับความลักลั่นในการเคร่งครัดต่อจริยธรรมสื่อ
2015-09-21
ส่องสื่อไทย
มีเดีย อินไซด์ เอ้าท์ ชวนสื่อคุยเรื่องภาพสะเทือนโลกที่ท้าทายจริยธรรมสื่อ
2015-09-21
คอลัมน์
สุชาดา จักรพิสุทธิ์ สะกิดวงการสื่อ เปิดความหมายการเซ็นเซอร์ที่ไร้รูปรอยผ่านหลักสูตรสร้างเครือข่าย
2014-04-08
คอลัมน์
จากในสู่นอก..นิธินันท์ ยอแสงรัตน์ วิพากษ์บทสนทนาว่าด้วย “จริยธรรมสื่อ” ที่กลายเป็นเรื่องน่าเบื่อของวงการสื่อไทยยุคดิจิตัล
2014-03-07
ส่องสื่อโลก
พิภพ อุดมอิทธิพงศ์ นำเสนอบทเรียนกรณี News of the World อดีตสื่อยักษ์ใหญ่ของอังกฤษที่ละเมิดจริยธรรมสื่อจนถูกสังคมกดดันให้ต้องปิดตัว พร้อมตั้งคำถามใหญ่ที่สื่ออาจไม่อยากตอบ“หมาเฝ้าบ้านควรมีปลอกคอหรือไม่”
2012-11-30
ส่องสื่อไทย
จักร์กฤษ เพิ่มพูล ปฏิบัติหน้าที่ในองค์กรสื่อมาเป็นเวลากว่าสามสิบปี ผ่านมาทั้งบทบาทนักข่าวและบรรณาธิการ ปัจจุบัน นอกจากตำแหน่งนายกสภาการหนังสือพิมพ์แห่งชาติ เขายังมีหมวกอีกใบในฐานะคณบดีคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเนชั่น
Media Inside Out สัมภาษณ์เขาในทั้งสองสถานะที่ต่างอยู่ในช่วงท้าทาย..สภาการหนังสือพิมพ์ฯปรับตัวอย่างไรเมื่อความหมายและการทำหน้าที่สื่อเลื่อนไหลและขยายรูปแบบมากขึ้น และการเรียนการสอนสื่อในยุคนี้ปรับตัวตอบรับกับรูปแบบของสื่อและผู้บริโภคที่เปลี่ยนบุคลิกไปแล้วอย่างไร
2012-11-10