มุมวิชาการ
สื่อเลือกทำหน้าที่ “คนกลาง” กรณีเลือกตั้งประธานาธิบดีอินโดนีเซีย 2014: สื่อออนไลน์
สื่อออนไลน์เป็นสื่อที่เกิดหลังสิ่งพิมพ์และโทรทัศน์ในวงการอุตสาหกรรมสื่อของอินโดนีเซีย แต่ก็ได้รับความนิยมและมีบทบาทมากขึ้นอย่างรวดเร็ว ในระหว่างการหาเสียงเลือกตั้งประธานาธิบดี ปี 2014 สื่อออนไลน์วางตัวแตกต่างจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อโทรทัศน์อย่างชัดเจน สื่อออนไลน์เลือกที่จะทำหน้าที่เป็นคนกลางระหว่างผู้สมัครสองฝ่าย (Gurevitch and Blumler 1977) เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือในฐานะสื่อใหม่ ตัวอย่างสื่อออนไลน์ที่เลือกมาศึกษาในงานวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ Detik.com และ Suara.com ทั้งสองมีสำนักงานในกรุงจาการ์ต้า
2021-01-17
มุมวิชาการ
ทุกวันนี้ Interpretive journalism หรือวารสารศาสตร์แบบตีความได้รับความนิยมมากจนเป็นแนวโน้มหลักของวารสารศาสตร์ ในงานข่าวปัจจุบัน “ข้อเท็จจริงและการตีความถูกนำมาผสมเข้าด้วยกันอย่างเสรี” (Patterson 1993) นักวารสารศาสตร์กำลังเปลี่ยนสถานะของตนเอง จากผู้ทำหน้าที่ถ่ายทอดเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเป็น “ผู้สร้างความหมาย” (makers of meanings) (Barnhurst 2003) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านวารสารศาสตร์การเมือง
2020-08-12
MIO คาเฟ่
ความท้าทายสำคัญของสื่อในยุคที่สังคมเลือกข้าง คือสื่อจะทำหน้าที่ของตนโดยไม่ให้เกิดความรู้สึกที่เอนเอียงในสังคมได้อย่างไร มีเดีย อินไซด์ เอ้าท์ ชวนสื่อที่ทำข่าวการชุมนุมเคลื่อนไหวร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และแนวคิดในการทำหน้าที่ของพวกเขา
2013-11-26