เรื่อง: พรรษาสิริ กุหลาบ
กราฟิก: ทัตเทพ ดีสุคนธ์
หากไม่มีข่าวเรื่องการต่ออายุ “พ.ร.ก.ฉุกเฉิน” เป็นช่วงๆ เราคงไม่ทันคิดว่ากฎหมายที่มีผลต่อการใช้ชีวิตของคนไทยเกือบทั้งปี 2563 เป็นกฎหมายสำหรับสถานการณ์ไม่ปรกติ
ส่วนหนึ่งเป็นเพราะสถานการณ์ที่ชวนให้จดจำในปี 2563 อย่างการระบาดของโควิด-19 ทั้งในประเทศและทั่วโลกก็เป็นเรื่องไม่ปรกติจริงๆ อย่างไรก็ตาม เป็นที่น่าสังเกตว่ากฎหมายฉบับนี้ถูกนำมาใช้อย่างเข้มงวดเพื่อปราบปรามการชุมนุมที่นำโดยเยาวชนซึ่งมีความเข้มข้นในช่วงเดือนตุลาคมด้วย
ช่วงบ่าย เวลาลอนดอนของ 22 พฤษภาคม 2563 ผมได้รับการติดต่อจาก “อาจารย์ย่า” หรือ รศ.ดร.อุบลรัตน์ ศิริยุวศักดิ์ ให้ช่วยเขียนบทความเพื่อเผยแพร่ทางเว็บไซต์ของ Media Inside Out ในหัวข้อ “รำลึกพฤษภา”
โจทย์ที่อาจารย์ให้มาคือ บทบาทของสื่อต่างประเทศในเหตุการณ์พฤษภาคม ไม่ว่าจะเป็น พฤษภา ‘35 หรือ การสลายการชุมนุมคนเสื้อแดงเมื่อ ‘53 หรือ การรัฐประหารโดย พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ในปี 2557
ผมตอบรับคำเชิญโดยเลือก 6 ปี คสช. เพราะเป็นเหตุการณ์ที่ผ่านมาไม่นานนักและมีความเกี่ยวข้องกับการกลับมาทำหน้าที่สื่อมวลชนให้คนไทยรอบใหม่ของบีบีซีไทย องค์กรที่ผมนั่งทำงานมาเกือบ 4 ปี
บรรณาธิการข่าวสด อิงลิช มองวิกฤติสื่อไทยมาจากสนิมเหล็กเกิดแต่เนื้อในตน เสนอแนะ 10 วิธีฟื้นฟูศรัทธาผู้อ่าน
บทบันทึกการสนทนาของนักข่าวรางวัลสิทธิมนุษยชน 3 คน กับสภาวะยากลำบากที่ต้องฝ่าฟันในการรายงานข่าวสารบ้านเมืองภายใต้การควบคุมของรัฐบาลหลังรัฐประหาร
มีเดีย อินไซด์ เอ้าท์ ชวนมองปรากฏการณ์ กสทช. จับจ้องมองวอยซ์จนจอดำ ฤาจะเป็นสัญญาณของการสิ้นสุดรายการวิเคราะห์ข่าวการเมือง?
มตินี้สะท้อนการใช้อำนาจมหาศาลที่ กสทช. ได้รับมอบจากระบอบเผด็จการทหารเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2559
มีเดีย อินไซด์ เอ้าท์ ชวนตั้งคำถาม หาคำตอบกับร่าง พ.ร.บ.สื่อ 4 ฉบับ เพื่อคุ้มครอง หรือควบคุมใคร?
วาระครบรอบ 40 ปีเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 มีเดีย อินไซด์ เอ้าท์ ชวนสื่ออาวุโสร่วมกันย้อนอดีต-มองปัจจุบัน ถึงบทบาทสื่อกับความรุนแรงทางการเมือง
ครบ 40 ปีเต็ม หลังจากถ่ายภาพที่เป็นสัญลักษณ์ของเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 การสังหารหมู่ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นีล อูเลวิช เผยเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ผ่านเลนส์กล้อง
สองปีหลังรัฐประหาร สโมสรนักข่าวต่างประเทศเชิญนักข่าวไทยและองค์กรส่องเสรีภาพสื่อเอเซียเล่าถึงสถานการณ์สื่อไทยยุค คสช.
Media Inside Out held discussions with Thai PBS' concerned parties to reflect on the past and look into future of Thailand’s public TV channel.